12 มกราคม 2560 โดย ผศ. ดร. ยุทธนา ศรีสวัสดิ์ อาจารย์ประจำวิชากฎหมายภาษีอากร เมื่อถึงเวลาทุกต้นปี ผู้เสียภาษีอย่างเราๆ มีหน้าที่เรื่องภาษีที่สำคัญมากๆ อย่างหนึ่ง นั่นคือ การยื่นภาษี ประจำปี ตอนนี้ กรมสรรพากร ออกแบบฟอร์มภาษีประจำปีภาษี 2559 ที่ใช้สำหรับยื่นช่วงต้นปีนี้ออกมาเรียบร้อยแล้วนะครับ รู้สึกเลยว่าแบบฟอร์มมีความซับซ้อนขึ้นมาก แต่ก็เปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นมากๆ เช่นกัน เลยขออนุญาตวิเคราะห์ทีละส่วนดังนี้ 1. ค่าลดหย่อนแทบทั้งหมดถูกย้ายไปอยู่ในเอกสารใหม่อีกใบนึงแล้ว ถ้าใครเคยคุ้นชินกับการกรอกฟอร์มทั้งหมดในใบเดียวก็ขอให้ลืมไปได้เลย เพราะรอบนี้มีแบบฟอร์มใบแนบแยกต่างหากสำหรับ ค่าลดหย่อน โดยเฉพาะแล้ว แน่นอนว่าข้อเสียคือการกรอกจะมีความซับซ้อนขึ้นเพราะต้องรวมยอดจากแผ่นนึงกลับมากรอกอีกแผ่นนึง แต่ก็แลกมาด้วยข้อดีมหาศาลคือ แบบฟอร์มภาษีหลักจะไม่ถูกแก้ไขบ่อยๆ เพราะไม่ต้องเปลี่ยนแปลงตามค่าลดหย่อนใหม่ๆ ที่เกิดขึ้นทุกปี คราวนี้ถ้าจะมีค่าลดหย่อนอะไรใหม่ๆ เปลี่ยนแปลงก็ไว้มาใส่ในนี้เอา 2. ช่องใหม่ที่ไม่ควรมองข้าม "เงินได้พึงประเมินที่ได้ใช้สิทธิเลือกเสียภาษีโดยไม่ต้องนำมารวมคำนวณภาษีกับเงินได้อื่น" — ช่องนี้เป็นช่องรักษาสิทธิ์ที่ผมใช้เวลาอธิบายอยู่นานเพื่อให้หลายคนเข้าใจ เพราะเป็นช่องที่ใช้สำหรับคำนวณเพิ่มสิทธิ์ในการซื้อ LTF / RMF และ ประกันชีวิตแบบบำนาญ สำหรับกรณีที่เราไม่ต้องการนำรายได้ที่ต้องเสียภาษีมารวมคำนวณใน ภ.

  1. English

English

94 ภายใน 30 กันยายน 2556 ด้วยนะคะ กำลังจะให้คนเช่าคอนโดขนาดหนึ่งห้องนอน จำนวนหนึ่งห้อง ค่าเช่าเดือนละ หนึ่งหมื่นสองพันบาท สัญญาจะเริ่ม15 กรกฏาคมนี้ ดิฉันไม่มีรายรับอื่นๆอีก เนื่องจากปัจจุบันอาศัยอยู่ที่ต่างประเทศ ดิฉันต้องยื่น ภงด 94กลางปี (ภายใน กันยายนนี้) รึเปล่าคะ คำตอบ:

94 14. - ใบแสดงสิทธิการได้รับยกเว้นเงินได้ฯ ใช้สำหรับยื่นแบบ ภ. 94 15. 94 กรณีรวมคำนวณภาษี

ยกตัวอย่าง ผู้ประกอบการร้านสะดวกซื้อ หรือ "ร้านโชห่วย" ยื่นแบบแสดงรายการเงินได้ของปี 2560 เอาไว้ 1, 000, 000 บาท เดิมหักค่าใช้จ่ายแบบเหมา 80% ของเงินได้ เหลือเงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 200, 000 บาท กรณีโสด หักค่าลดหย่อนได้ 30, 000 บาท คงเหลือเงินได้สุทธิ 170, 000 บาท การคำนวณภาษีของกรมสรรพากรมี 2 วิธี คือคำนวณภาษีตามอัตราก้าวหน้า หรือคำนวณภาษีตามอัตราขั้นต่ำที่ 0. 5% ของเงินได้สุทธิ วิธีไหนรัฐได้เงินภาษีมากที่สุดก็ใช้วิธีนั้น วิธีแรกคำนวณภาษีอัตราก้าวหน้า หักยกเว้นภาษีเงินได้ 150, 000 บาท เหลือเงินได้สุทธิ 20, 000 บาท นำมาคำนวณภาษีอัตราก้าวหน้า ต้องเสียภาษี 1, 000 บาท วิธีที่ 2 คำนวณอัตราภาษีขั้นต่ำที่ 0. 5% ของเงินได้เงินได้ 1, 000, 000 บาท ต้องเสียภาษี 5, 000 บาท ทั้งเจ้าหน้าที่สรรพากรและโปรแกรมคำนวณภาษี จะถูกตั้งเอาไว้ให้เลือกวิธีที่ 2 จากนั้นนำมาหาร 2 ผู้เสียภาษี ต้องจ่ายเงินค่าภาษีครึ่งปี 2, 500 บาท ปัจจุบันหักค่าใช้จ่ายแบบเหมาได้แค่ 60% อัตราเดียว เหลือเงินได้หลังหักค่าใช้จ่าย 400, 000 บาท กรณีโสด กรมสรรพากรเพิ่มค่าลดหย่อนเป็น 60, 000 บาท คงเหลือเงินได้สุทธิ 340, 000 บาท วิธีแรกคำนวณภาษีอัตราก้าวหน้า ต้องเสียภาษี 11, 500 บาท วิธีที่ 2 คำนวณอัตราภาษีขั้นต่ำ 0.

ขั้นตอนที่ 1 รวมเงินได้พึงประเมิน (เงินเดือน/รายได้อื่นๆ) ปีภาษี 2559 (ยื่นแบบ ม. ค. -มี. 2560) ขั้นตอนที่ 2 รวมรายการลดหย่อนและยกเว้นหลังจากหักค่าใช้จ่าย ปีภาษี 2559 ขั้นตอนที่ 3 การคำนวณภาษี ปีภาษี 2559

  1. App ตรวจ สภาพ อากาศ ภาษาอังกฤษ
  2. รูป การ ปลูก ผัก กะ แยง
  3. บุคคลธรรมดา 43 อาชีพ จ่ายภาษีเพิ่มกว่า 2 เท่า ในปี2560 เป็นต้นไป!! - รับทำบัญชี - สำนักงานบัญชี เปิดกว่า 32 ปี ACCTAXCONSULTANT (THAILAND) ประสบการณ์กว่า 32 ปี - ราคาถูก ใส่ใจคุณภาพ
  4. ภ งด 94 2559 4
  5. ดิน ลํา ด วน
  6. ปตท. ส่ง “อรุณพลัส” บุกเวทีมอเตอร์โชว์ 2022 เปิดตัวรถอีวี - Pantip
  7. ภ งด 94 2559 online
  8. ไมค์ rode ราคาพิเศษ ศูนย์ไทย
  9. ระบบแจ้งเหตุเพลิงไหม้ Fire alarm system ตรวจสอบอย่างไรบ้าง
  10. 566 ความ หมาย
  11. การยื่นแบบ-ภงด-90-94-เพิ่มเติม-
  12. หนอน เลข อะไร

ผมจะยื่นภาษีเป็นครั้งแรกแบบ ภงด 94 เพราะเงินได้เกิน 60, 000 ทีนี้อยากสอบถามว่าให้คิดเงิ นได้ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึง 30 มิถุนายน ต้องคิดทุกเงินได้ที่โอนเข้าบั ญชีเลยใช่ไหมครับ เพราะของผมมันมียอดยกมาจากปีที่ แล้ว 1แสนกว่าๆ แบบนี้เราต้องเอาเป็นเงินยอดนี้ คิดเป็นเงินได้ของปีนี้หรือไม่ ครับ คำตอบ: เงินได้ครึ่งปีที่จะยื่น ภ. ง. ด. 94 นั้นให้เอาเฉพาะเงินได้ที่ได้รับช่วง 1 มกราคม ถึง 30 มิถุนายน นะคะ ยอดยกมาปีก่อนไม่ต้องนำมารวมค่ะ สวัสดีค่ะ ขอรบกวนสอบถามหน่อยค่ะ เราออกใบกำกับภาษีและใบเสร็จรับเงิน 20 ธ. ค. 59 แต่ได้รับเงินจริง และ ใบหัก ณ ที่จ่ายลงวันที่ 20 ม. 60 อยากทราบว่าถ้ายื่น ภงด. 94 (รายได้ ม. -มิ. ย. 60) เราต้องเอารายได้ตามใบหัก ณ ที่จ่ายมาเป็นเดือน ม. เพื่อคำนวนภงด. ต94 หรือรายได้นั้นเป็นของเดือนธค. ไม่ต้องนำมาคำนวน ภงด. 94 ค่ะ รบกวนยกตัวอย่างให้ดูหน่อยนะค่ะหนูไม่ค่อยเข้าใจเรื่องนี้เลยค่ะ ขอบคุณล่วงหน้านะค่ะ รายได้เกิดตั้งแต่ปี 2559 แล้ว ถึงแม้เราออกใบเสร็จ/ใบกำกับภาษีไปแล้ว แต่เรายังไม่ได้รับเงิน เราก็ต้องบันทึกเขาเป็นลูกหนี้ก่อน ตอนเราได้รับเงินและใบหัก ณ ที่จ่าย เราจึงต้องบันทึกล้างกับบัญชีลูกหนี้ ดังนั้นยอดเงินนี้ไม่ใช่รายได้ของปี 2560 ใน ภ.

Wednesday, 13 July 2022
ferrari-488-spider-ราคา